“ลืม-จำ” ในกระบวนการจัดการเอกสารส่วนบุคคล กรณีภาพถ่ายของ รองศาสตราจารย์ชนัญ วงษ์วิภาค

 |  การจัดการข้อมูลทางวัฒนธรรม
ผู้เข้าชม : 508

“ลืม-จำ” ในกระบวนการจัดการเอกสารส่วนบุคคล กรณีภาพถ่ายของ รองศาสตราจารย์ชนัญ วงษ์วิภาค

ข้อเขียนนี้พัฒนาขึ้นจากการจัดเอกสารของผู้เรียบเรียงและ รศ. ชนัญ วงษ์วิภาค เจ้าของเอกสาร “อาจารย์” ได้บริจาคภาพสไลด์จากการทางานวิจัยและการพัฒนาสื่อการศึกษาให้กับศูนย์ มานุษยวิทยาสิรินธรราว ๓,๐๐๐ ภาพ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๕ ภาพสไลด์บางชุดได้รับการจัดเก็บไว้เป็นชุดตามเนื้อหาของการทางาน หรือการบันทึกภาพเหตุการณ์ อย่างไรก็ดี ภาพอีกเป็นจานวนมากอยู่ในลักษณะกระจัดกระจาย หรือไม่มีข้อมูลที่เพียงพอสาหรับการให้บริการแก่สาธารณชน

ตลอดระยะเวลากว่าสิบเดือน ตั้งแต่ปลาย พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงราวกลาง พ.ศ. ๒๕๕๗ รองศาสตราจารย์ ชนัญ วงษ์วิภาค และผู้เรียบเรียงพยายามจัดสรรเวลาเพื่อพัฒนากรอบและแนวทางในการจัดการเอกสาร ที่

อาจารย์ได้กรุณามอบให้กับจดหมายเหตุมานุษยวิทยา รวมถึงการให้คาอธิบายภาพเท่าที่จะเป็นไปได้ ทั้งนี้ ในกระบวนการดังกล่าว ผู้เรียบเรียงอาศัยกฎเกณฑ์ในการจัดการจดหมายเหตุเป็นสาคัญ นั่นคือ การจัดเรียงเอกสารจะต้องสะท้อนการทางานของผู้สร้างเอกสาร ส่วนการพัฒนาคาอธิบายภาพเน้นหนักกับการกาหนดช่วงเวลาของการสร้างเอกสาร บริบทของการทางาน และเนื้อหาที่ปรากฏในภาพ

อ่านบทความฉบับเต็ม : http://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/backend/resource/file/forget-remember.pdf

 

เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

Share