สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
VDO ด้านชาติพันธุ์ ดูทั้งหมด +

  ค้นหางานวิจัย
 
 

  ค้นหางานวิจัยจากแผนที่

งานวิจัยที่อ่านมากที่สุด
เงาะป่า-ซาไก นิเชาเมืองไทย ชนป่าที่กำลังสูญสลาย (27,361 ครั้ง)
เกาะเกร็ด : วิถีชีวิตชุมชนมอญริมแม่น้ำเจ้าพระยา (25,652 ครั้ง)
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ในชุมชนบ้านเยอ บ้านไทยดำ และบ้านไทยลาว : การศึกษาเปรียบเทียบเฉพาะกรณี (22,625 ครั้ง)
ดนตรี : วิถีชีวิตชาวไทยพวน แขวงเชียงขวาง ประเทศลาว (15,121 ครั้ง)
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ภายในชุมชน อันเนื่องมาจากโครงการอพยพชาวเขา : กรณีศึกษาบ้านวังใหม่ อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง (12,429 ครั้ง)

กลุ่มชาติพันธุ์ที่มีการศึกษาวิจัยมากที่สุด
ปกาเกอะญอ (201)
ม้ง (195)
มลายู ออแฆนายู มลายูมุสลิม ไทยมุสลิม (154)
ลาหู่ ลาหู่ ละหู่ ลาฮู (108)
โพล่ง โผล่ง โผล่ว ซู กะเหรี่ยง (85)

บทความชาติพันธุ์
วัฒนธรรมอาหารของชาวทวายพลัดถิ่น
วัฒนธรรมอาหารของชาวมุสลิมไทยเชื้อสายยะวา (ชวา)
วัฒนธรรมอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์จีนฮกจิว (Hockchiu) ในสังคมไทย
หกปี มติ ครม.สามสิงหา สองห้าห้าสาม: ความท้าทายของการยกระดับวีถีชีวิตกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยง
เมื่อไร่หมุนเวียน หมุนมาถึงตัวฉัน

ข่าวชาติพันธุ์
ดูทั้งหมด +
แอมเนสตี้ส่งจดหมายกระตุ้นอาเซียนเร่งแก้ไขวิกฤตโรฮิงญาอย่างจริงจัง
'ยามชายแดน'เฝ้าแผ่นดิน สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ
สุดประทับใจระดมทุนช่วยเหลือผู้ลี้ภัยกะเหรี่ยงเป็นไปอย่างคับคั่ง เดินหน้าจัดกิจกรรมรับบริจาคต่อ
ชาวเลยื่นสนช.สอบกระทรวงยุติธรรม-อธิบดีกรมที่ดิน
ก.ยุติธรรมฉายวีดีทัศน์ผลงานลงพื้นที่ชุมชนชาวเลราไวย์ ดีเอสไอเผยเสนอให้กรมที่ดินยกเลิกเอกสารสิทธิ์ที่ออกโดยมิชอบ

ความเคลื่อนไหวการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยง
ดูทั้งหมด +
ประชุมปฏิบัติการเพื่อสื่อสารความเข้าใจอันดีต่อกลุ่มชาติพันธุ์ชาวกะเหรี่ยง
การประชุมทบทวนการทำงาน และกำหนดแนวทางการทำงานเพื่อฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวกะเหรี่ยงตามมติ ครม. 3 สิงหาคม 2553 วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556 เวลา 9:30-16:00 น. ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
คำสั่งกระทรวงวัฒนธรรม ที่ 74/ 2554 เรื่อง แต่งตั้งคณะอนุกรรมการศึกษาความเป็นไปได้เพื่อเสนอให้ไร่หมุนเวียนเป็นมรดกทางภูมิปัญญาวัฒนธรรม(หน้า3)

ความเคลื่อนไหวการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล ดูทั้งหมด +
สรุปการประชุมปฏิบัติการจัดทำข้อมูลเพื่อสื่อสารความเข้าใจอันดีต่อกลุ่มชาติพันธุ์ชาวเล บ้านทับตะวัน จังหวัดพังงา
สรุปการประชุมปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล อำเภอเกาะลันตา จังหวัดกระบี่
สรุปการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อนนโยบายการฟื้นฟูวิถีชีวิตชาวเล จังหวัดภูเก็ต

 
  • ค้นหาจากชื่อเรียก
    กลุ่มชาติพันธุ์
  • ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ :
    ความหมายและการเรียกชื่อ
  • การจำแนกชาติพันธุ์ และใช้ชื่อเรียก
    กลุ่มชาติพันธุ์ในฐานข้อมูล
ชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง ชื่อเรียกต่างๆโดยคนอื่น
  ก่อ (อึมปี้) (3) ก่อเมืองแพร่
  กะซอง (2) ชอง
  กะยัน แลเคอ (11) กะเหรี่ยงคอยาว ปาดอง สตรียีราฟ
  กะแย กะยา บเว (11) ยางแดง กะหยิ่นนี คะยินนี คะเรนนี กะเหรี่ยงแดง
  กะเลิง (8) ข่า ข่าเลิง ไทกะเลิง ไทยกะเลิง ไทยกวน
  กำมุ ตะมอย (25) ขมุ ข่ามุ
  กูย กุย กวย โกย โก็ย (32) เขมรป่าดง ส่วย ข่า ไทย-กูย ไท-กวย ส่วย-ลาว ส่วย-เขมร เขมรส่วย
  ขแมร์ลือ คะแมร คนไทยเชื้อสายเขมร เขมรถิ่นไทย (17) เขมร
  คะฉิ่น จิงเผาะ (1) คะฉิ่น
  จีน จีนแต้จิ๋ว จีนฮกเกี้ยน จีนไหหลำ ไหหนำ จีนกวางตุ้ง จีนแคะ (5) คนจีน เจ๊ก
  จีนยูนนาน จีนฮ่อ มุสลิมยูนนาน (19) จีนยูนนาน จีนฮ่อ จีนมุสลิม
  ชอง ตัมเร็จ สำแร (6) ปัว ซองชีขะโมย ขำของ
  ซะโอจ ซะอูด (1) อูด ซะอูด ซะโอจ เขมรดง ซา-ออค
  ซำเร ซัมเร ซำแร สำเหร่ (2) ชอง สำเหร ซำแร ปอร์
  โซ่ ทะวืง (1) ข่า ข่าโซ่ ข่าโส้
  ญ้อ ไทญ้อ (9) ไทยญ้อ ไทยย้อ
  ญัฮกุร เนียะกุร (6) มอญโบราณ ชาวบน ชาวดง คนดง ละว้า
  ดาราอาง ดาระอางแดง รูไม ปะเล รูจิง ตะอาง (9) ปะหล่อง ว้าปะหล่อง คุณลอย ปลัง ปุลัง ดาระอั้งทอง
  ไตหย่า ไทหย่า ไต (4) ฮวาเย่าไต
  ไทขึน ไตขึน ขึน (8) ไทเขิน
  ไทดำ ลาวโซ่ง ไทยโซ่ง ไทยทรงดำ ไทดำ ไตดำ โซ่ง (66) ลาวทรงดำ ผู้ไทยดำ ไทยดำ
  ไทเบิ้ง ไทเดิ้ง (8) ไทยเบิ้ง ไทยเดิ้ง ไทยโคราช
  ไทยโคราช คนโคราช คนบ้านเอ๋ง หลานย่าโม (3) คนโคราช ไทยโคราช ไทโคราช ลาวโคราช
  ไทยพวน ไทพวน คนพวน (32) ลาวพวน ลาวกะเลอ ไทยกะเลอ
  ไทยวน ยวน ยวนสีคิ้ว คนเมือง (22) โยน ยวน คนยวน ล้านนา ไตยวน ไตยน โยน ยน ยวน ยูน ก้อหล่ง กู้หล่ง แจ๊ะ แชะ กอเลาะ จั่นขะหลอม กะหลอม ขะหลอม ไต๋มุง ไปเยว่ เตี้ยนเยว่ ลาว ชาวลาว
  ไทโย้ย โย่ย โย้ย ไทยโย้ย ไทย้อย ผู้ย้อย ย้อย ลาวย้อย (6) แข่ สร้อง โด้ย อี้ ไย
  ไทลื้อ ลื้อ ไตลื้อ (47) ไทลื้อ ไทยลื้อ ไปอี
  ไทใหญ่ ไต คนไต (50) ชาน ฉาน ไทใหญ่ เงี้ยว ไทเหนือ-ไทมาว
  บรู (5) ข่า โซ่ โส้ กะตาง ตะโอย มอย ส่วย
  บีซู บี่สู บีสู่ (2) ละว้า ลัวะ คนดอย
  ปกาเกอะญอ (201) กะเหรี่ยงโป กะเหรี่ยงสะกอ กะเหรี่ยง กะหร่าง ยาง
  ปลัง คาปลัง (3) ลัวะ หลาง ปางซุง ขาแปะ คนดอย สามเต้า ไตดอย ไตหลอย
  ปะโอ (6) ปะโอ กะเหรี่ยงดำ ต่องสู้ ต่องสู่ต่องซู่
  ผู้ไท ภูไท (35) ผู้ไทย ภูไทดำ ภูไทขาว ลาวทรงดำ ลาวทรงขาว ลาวโซ่ง ลาวเก่า ไทยทรงดำ
  โพล่ง โผล่ง โผล่ว ซู กะเหรี่ยง (85) กะเหรี่ยงโป โปว์ พล่อ โพล่ง ยางเด้าะแด้ ยางบ้าน ยางแดง ฮซู่ โปว์กะเรน กะหยิ่น ยางเปียง ตะเลงกะริน
  ม้ง (195) เหมียว แม้ว
  มละบริ ยุมบรี มลาบรี มละบริ มลา มละ (17) ผีตองเหลือง ตองเหลือง คนตองเหลือง ข่าตองเหลือง ข่าป่า คนป่า ผีป่า ชาวเขา ม้ากู่ จันเก้ม โพล มนุษย์ยุคหิน
  มลายู ออแฆนายู มลายูมุสลิม ไทยมุสลิม (154) มุสลิม อิสลาม แขก
  มอแกน บะซิง มาซิง (12) ชาวน้ำ ชาวเล ไทยใหม่ ซลัง เซลัง ซาเลา มอแกนปูเลา มอแกนปอลาว ชาวเกาะ มอแกนเล มอแกน มอแกนเกาะ สิง
  มอแกลน (5) ชาวเล ไทยใหม่ มอแกนตามับ ออลังตามับ สิงบก มอแกนบก
  มอญ รมัน รามัญ (62) ตะเลง ตะลาย เปกวน เม็ง
  มานิ มานิค โอรังอัสลี อัสลี จาไฮ (11) ซาไก เซมัง เงาะป่า โอรังอัสลี นิกริโต ชอง มอส ตอนกา
  ยอง คนยอง ชาวยอง ไทยอง ขงเมืองยอง จาวยอง (12) คนเมืองยอง ลื้อเมืองยอง
  เยอ กูยเยอ (3) เยอ กูยเยอ
  ละว้า ลัวะ ว้า (12) ลัวะ ปลัง ว้าแดง
  ลัวะ (มัล ปรัย) ลัวะมัล ไปร ลัวะปรัย (32) ลัวะ ถิ่น ลัวะ (มัล,ปรัย)
  ลัวะ (ละเวือะ) ลเวือะ อเวือะ เลอเวือะ ลวะ ละว้า (38) ลัวะ ละว้า ลัวะ (พะล็อก)
  ลาวครั่ง ลาวขี้คั่ง (7) ไทครั่ง ลาวกา ลาวเวียงจันทน์ ลาวด่าน ลาวเต่าเหลือง ลาวโนนปอแดง
  ลาวแง้ว (3) ลาวแง้ว
  ลาวเวียง ลาวกลาง (6) ไทยเวียง ลาวตี้
  ลาหู่ ลาหู่ ละหู่ ลาฮู (108) หลอเหย ล่อเฮ ข่าเลาะ มูเซอ ลาฮู โลไฮ ลาหู่หงี ลาหู่นา ลาหู่นะ ลาหู่เซเล ลาหู่ปาลิ ลาหู่แดง ลาหู่ดำ
  ลีซู (63) ลีซอ
  เวียด เหวียตเกี่ยว ไทยใหม่ (18) ญวน แกว คนแกว คนไทยเชื้อสายเวียดนาม เวียดนาม
  แสก แทรก (ถะ-แหรก) (2) ไทแสก ไทยแสก
  โส้ โทรฺ (15) กะโซ่ ข่าโซ่ ข่ากะโซ ข่า ไทโส้ ไทยโส้
  อ่าข่า (64) ก้อ อีก้อ ข่าก้อ อีก้อ โอนิ-ฮานิ ฮานิ ฮาหนี่
  อาเคอะ อ่อเหงี่ยก๊อคือ (1) อาเคอะ อาเข่อ อาเค้ออาข่า
  อิ้วเมี่ยน เมี่ยน (70) เย้า เมี้ยน
  อูรักลาโว้ย อูรักลาโวยจ (19) ชาวเล ชาวน้ำ ชาวไทยใหม่ ยิปซีทะเล
  โอก๋อง อุก๋อง ก๋อง ก๊อง (1) ละว้า ลัวะ
  ดูทั้งหมด +
   มโนทัศน์กลุ่มชาติพันธุ์ (ethnic group) เป็นมโนทัศน์สำคัญมโนทัศน์หนึ่งที่นักมานุษยวิทยาใช้ในการจำแนกกลุ่มชนต่างๆซึ่งแพร่หลายในสาขาวิชามานุษยวิทยาตั้งแต่ทศวรรษของ 2490 เป็นต้นมา ก่อนหน้านี้นักมานุษยวิทยาให้ความสำคัญกับการจำแนกแบบแผนพฤติกรรมมนุษย์หรือที่นักมานุษยวิทยาเรียกว่า “วัฒนธรรม” มากกว่าการจำแนกตัวกลุ่มชนเอง (Jones 2005;40,ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ 2551)
อ่านต่อที่นี่
   เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลเพียงพอที่จะจำแนกชาติพันธุ์ในลักษณะที่จัดหมวดหมู่ที่มีความเกี่ยวข้องกันหรือจัดประเภทของกลุ่มชาติพันธุ์ในฐานข้อมูลนี้ จึงจะจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียก และจากปัญหาต่างๆ ที่กล่าวข้างต้น คณะทำงานจึงตัดสินใจว่า “จะใช้ชื่อเรียกชาติพันธุ์โดยสมาชิกชาติพันธุ์ของแต่ละกลุ่ม”
อ่านต่อที่นี่

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง  
 
0.293 seconds