• โครงการประกวดหนังสั้นทักษะวัฒนธรรมสำหรับเยาวชน “ขัดกันฉันมิตร” ปีที่ 2 Pergaduhan Teman | Friendly Quarrel

     

     

    ต่อเนื่องจากโครงการประกวดหนังสั้นทักษะวัฒนธรรมสำหรับเยาวชน “ขัดกันฉันมิตร” ปีที่ 1 (2560) เยาวชนได้มีโอกาสทำความเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรม สำรวจอคติ และภาพเหมารวมที่ส่งผลต่อ ทัศนคติในเชิงลบและการเลือกปฏิบัติที่มีต่อคนที่แตกต่าง รวมทั้งเรียนรู้ผลกระทบของสถานการณ์ความรุนแรงในภาคใต้  โดยเฉพาะในกลุ่มที่นับถือศาสนาต่างกัน ทำให้เปลี่ยนมุมมอง หรือทัศนะด้านลบบางอย่างที่เคยมี และเสริมทักษะให้เยาวชนทั้งด้านทักษะวัฒนธรรมและด้านการสื่อสารสาธารณะ มีส่วนร่วมในการสื่อสารมุมมองของเยาวชนต่อสาธารณะในประเด็นทักษะวัฒนธรรมและการอยู่ร่วมกับความขัดแย้งในภาคใต้ ผ่านกระบวนการการทำหนังสั้น ซึ่งโครงการประกวดฯ ในปีที่ 2 นี้ ได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภาคี ได้แก่ ศูนย์ข่าวสารสันติภาพ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สหภาพยุโรป (EU) ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS)   

    Written on Friday, 18 January 2019 10:39 in กิจกรรมล่าสุด Read 1440 times Read more...
Saturday, 14 September 2013 14:17

Iran : Sous le voile des apparences

ปัญหาการปฏิวัติ ปัญหาความรุนแรง ลิทธิการคลั่งศาสนา ทั้งหมดล้วนแต่เป็นภาพที่ปรากฏออกมาของอิหร่านต่อโลกมานานกว่าสองทศวรรษที่ผ่านมา แต่จะทำอย่างไรให้ได้ลืมเรื่องราวของความวุ่นวายที่เกิดในอิหร่าน อิหร่านเป็นหนึ่งในประเทศที่เก่าแก่ที่สุดประเทศหนึ่งในประวัติศาสตร์และมีการเกิดขึ้นของเมืองเป็นยุคแรก มีภาษาเขียนเกิดขึ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ ที่ดินแดนแห่งนี้การปฏิวัติอิสลามได้เกิดขึ้นมานานกว่าห้าพันปีแล้วเช่นกัน

Revolution, violence, religious fanaticism that is the image that Iran has given the world for more than two decades. But how can we forget in the turmoil of today, was born in Iran one of the oldest nations in history and that there appeared the first cities and the first writing. The Islamic revolution has she been an episode more for this country of 5,000 years of age, half the size of Europe.

On the front line of conflict deep inside Burma this documentary follows ethnic relief workers as they aid internally displaced people suffering under the Burma Army. Focusing on a female medic and a pastor/human rights cameraman, the film reveals a people that have maintained their dignity and hope for peace despite the odds. Filmed on relief missions with the Free Burma Rangers.

Saturday, 14 September 2013 13:52

Born in Singapore

ภาพยนตร์เรื่องเกิดในสิงค์โปร์จะพาผู้ชมให้ได้รู้จักสังคม เศรษฐฏิจและการเมืองของประเทศสิงคโปร์ ตั้งแต่ปี 1960 จนถึงปัจจุบัน ภาพยนตร์ได้รวบรวมชีวิตความเป็นอยู่ กิจกรรมกีฬา กิจกรรมบันเทิงต่างๆ รวมทั้งเรื่องราวของความคิด ซึ่งช่วยให้สิงคโปร์พัฒนาขึ้นเป็นลำดับ ข้อมูลทั้งหมดช่วยให้สิงคโปร์สามารถกำหนดทิศทางและนำพาประเทศให้เจริญขึ้นทุกวันนี้ สิงคโปร์จึงเป็นประเทศที่ให้โอกาศทุกคนที่เลือกเพื่ออาศัยและทำงานอยู่ในประเทศนี้

Born in Singapore offers an interactive journey into the social, economic and political dimensions of the Singapore society from the 60s till the new millennium. The collector’s edition explores the lifestyles, sports, recreational activities, ideas and achievements that Singapore has witnessed through its growing years. All these have helped to chart Singapore’s destiny and make her into what she is today - a land of opportunities for anyone who chooses to live and work here.

Saturday, 14 September 2013 13:39

Indigenes

ภาพยนตร์สงครามเรื่องนี้เกิดขึ้นสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง โดยบอกเล่าเรื่องราวของทหารกลุ่มแอฟริกันที่เข้าร่วมกับฝรั่งเศสในการต่อสู้ของพวกเขาต่อพวกนาซี ถึงแม้ว่าการต่อสู้นี้ไม่ใช่เพื่อปกป้องมาตุภูมิของตนเองก็ตาม สถานที่ที่พวกเขามาพวกเขาไม่เคยรู้จักมาก่อน พวกเขาเผชิญกับความไม่เสมอภาคและความอัปยศอดสูทุกวันภายในกองทัพฝรั่งเศส ฮีโร่เหล่านี้ว่าประวัติศาสตร์ไม่ได้จดจำพวกเขาไว้ พวกเขาค้นพบตัวเองอยู่ว่าได้ทำการปกป้องหมู่บ้านเล็ก ๆ จากกองทัพเยอรมัน

This World War II film tells the tale of a group of African soldiers who join the French in their fight against the Nazis. Although they passionately battle to defend the motherland, a place they've never been, they face inequality and daily humiliation within the French army. These heroes that history forgot won battles throughout Europe before finding themselves alone to defend a small village against a German battalion

 

โครงการประกวดภาพยนตร์สั้นชุด “ บ้านใกล้เรืองเคียง“ ในหัวข้อ “ใต้ร่มเงาสมานฉันท์” ที่ทางนิตยสาร “BIOSCOPE” (ไบโอสโคป) ร่วมกับมือ “คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ” , “คณะอนุกรรมการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี” , “กลุ่มสี่มุมเมือง” (Urban Media Society – UMS) และ “องค์กรแอ็คชั่นเอด ประเทศไทย” โครงการนี้เปิดโอกาสให้กับนักเรียน , นักศึกษา และบุคคลทั่วไป ใช้หนังสั้นมาเป็นสื่อ เพื่อร่วมสร้างสังคมให้มีความเข้าในเรื่องการอยู่ร่วมกันโดยสันติวิธี ระหว่างผู้คนที่มีความแตกต่างหลากหลายทางเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม เพื่อเป็นการเปลี่ยนแปลงมุมมอง และการรับรู้ของผู้คนในสังคมไทยที่มีต่อความรุนแรงที่เกิดขึ้นใน 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้ ผู้สนใจติดตามภาพยนตร์ทั้งหมดได้

ภาพยนตร์เรื่องนี้นำเสนอเรื่องราวของการเข้าไปฟื้นฟูที่อยู่อาศัยของชุมชนบนเกาะมุก จังหวัดตรัง หลังจากได้รับผลกระทบจากพิบัติภัยสึนามิ ประชาชนบนเกาะสูญเสียที่อยู่อาศัยจำนวนมาก โครงการปลูกบ้านปลูกชุมชนจึงเข้าไปฟื้นฟูสภาพความเป็นอยู่ดังกล่าวในภาพยนตร์จะได้เห็นกระบวนการทำงานของโครงการ ซึ่งกว่าจะผ่านโครงการไปได้ก็ต้องระดมความคิดกันหลายครั้งทีเดียว

Saturday, 14 September 2013 12:49

Couldn't be Fairer

ภาพยนตร์เรื่องนี้เปิดเผยสังคมอีกด้านหนึ่งของคนออสเตรเลียพื้นเมืองหรือที่รู้จักกันทั่วไปคือ Aborigin ซึ่งเป็นคนกลุ่มน้อยในออสเตรเลียท่ามกลางชนผิวขาว คนเหล่านี้ได้รับผลกระทบจากปัญหาพิษสุราเรื้อรัง ความรุนแรงทางเชื้อชาติ การกดขี่ทางการเมืองโดยชาวออสเตรเลีย ด้วยการเลือกใช้ภาพยนตร์นำเสนอสภาพปัญหาของการละเมิดกับชนพื้นเมือง จึงเป็นข้อมูลที่มีชัดเจนที่ชี้ให้เห็นถึงความขัดแย้งทางเชื้อชาติที่เกิดขึ้น

"Couldn't Be Fairer" is an extraordinary depiction of a side of Australian aboriginal society which is hidden from the eyes of most white people. With unflinching honesty, it depicts the problems of alcoholism, racial violence and political oppression still faced today by the first Australians. Using astutely selected archival footage to give historical depth to scenes of contemporary desolation and abuse, the film is a hard-hitting statement about racial conflict.

Saturday, 14 September 2013 12:07

Land mines : a love story

ภาพยนตร์เรื่องนี้บอกเล่าเรื่องราวของ Shah อดีตทหารมูจาฮีดีน และ Habiba หญิงสาวชาวอาฟกันที่ได้รับบาดเจ็บจากกับระเบิดของโซเวียตเมื่อครั้งที่เข้ามายึดครองอัฟกานิสถาน Shah ประกอบอาชีพเป็นช่างซ่อมรองเท้าในย่านตลาดสดขณะที่ Habiba ต้องประกอบอาชีพขอทานเพื่อช่วยเหลือครอบครัวในกรุงคาบูล ทั้ง 2 คน อยู่กินด้วยกัน ทั้งคู่เอาชนะอุปสรรคทางศาสนาและประเพณีด้วยความรักของทั้ง Habiba และ Shah ทั้งคู่แสดงออกถึงความกล้าหาญและความมีคุณธรรมท่ามกลางโลกที่มีความรุนแรงและเรื่องหลอกลวง ติดตามเรื่องราวได้จากภาพยนตร์

This new documentary by Dennis O'Rourke tells the story of Shah, a former Mujahideen soldier, and Habiba, a young Afghan woman injured by a Russian land mine following the Soviet occupation of Afghanistan. Shah, a cobbler, fixes shoes in a crowded bazaar while Habiba begs to support her family. There, amid the ruined city of Kabul, they meet and embark on an unlikely courtship. Overcoming the obstacles of religion and tradition in their search for love, Habiba and Shah display extraordinary bravery and morality in their world of sanctioned violence and lies.

Saturday, 14 September 2013 11:59

Yumi Yet : In dependce for Papua New Guinea

Dennis O'Rourke ได้ถ่ายทำภาพยนตร์เรื่องนี้ในโอกาสที่ปาปัวนิวกินีเฉลิมฉลองความเป็นเอกราชจากออสเตรเลีย ภาพยนตร์ได้รวบรวมข้อมูลในแง่มุม ในพื้นที่ต่างๆกันในโอกาสเฉลิมฉลองเดียวกันนี้ เป็นภาพที่สวยงาม เพลง และเสียงที่ยอดเยี่ยม ทั้งหมดเป็นภาพสุดท้ายของการครองปาปัวนิวกินีจากลัทธิล่าอาณานิคม ภาพต่อมาก็เป็นการเฉลิมฉลองในทุกส่วนของประเทศเพื่อสู่ชีวิตใหม่ของพวกเขา ติดตามได้จากภาพยนตร์เรื่องนี้

"Dennis O'Rourke's brilliant study of Papua New Guinea's independence celebrations does not belong to the tradition in which an all-knowing, anonymously honeyed voice lulls us with loaded instructions for interpreting a world which it empties of interest. Skilful and humorous editing of the vividly beautiful images and the superb soundtracks of voices, music and radio broadcasts brings out a sense of wonder at a society composed of extraordinary juxtapositions. It is not just that traditional tribal customs co-exist with both the paraphernalia of British and Australian colonialism and the new institutions for independence. Each element actively transforms the others and gives them new meaning."

Page 1 of 2