logotype
หน้าหลัก บรรยาย การบรรยาย ๑๕ : วิธีการและเครื่องมือทางมานุษยวิทยาเบื้องต้น ที่ใช้ในการศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

การบรรยาย ๑๕ : วิธีการและเครื่องมือทางมานุษยวิทยาเบื้องต้น ที่ใช้ในการศึกษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

PDF Print E-mail
  
วันที่เผยแพร่: วันพฤหัสบดีที่ ๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๔:๒๔ น.
วันที่แก้ไข: วันศุกร์ที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๐:๒๙ น.

ในการบรรยายนี้ ผู้บรรยายแสดงให้เห็นความหมายและขอบเขตของการศึกษาทางมานุษยวิทยา ที่สามารถนำมาใช้ในการทำงานด้านมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม อันประกอบด้วยการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วมและการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างผู้ศึกษา บริบทและเนื้อหาของการศึกษา (self-reflexivity) การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้ศึกษากับสนาม ความเข้าใจในบริบทของสิ่งที่ศึกษา การระบุผู้ให้ข้อมูลหลักและการสัมภาษณ์ ความสำคัญของ “เสียง” และมุมมองที่แตกต่างในสนามของการศึกษา งานเขียนทางชาติพันธุ์วรรณนา และเครื่องมือช่วยในการวิจัยในระยะเวลาอันสั้น อันได้แก่ การทำแผนที่สังคมและวัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ชุมชน ปฏิทินทางสังคมและเศรษฐกิจ และชีวประวัติ

ดาวน์โหลดไฟล์นำเสนอ

ดาวน์โหลดสรุปเนื้อหาการบรรยาย

   
 share