สมัครสมาชิก   
| |
ค้นหาข้อมูล
ค้นหาแบบละเอียด
  •   ความเป็นมาและหลักเหตุผล

    เพื่อรวบรวมงานวิจัยทางชาติพันธุ์ที่มีคุณภาพมาสกัดสาระสำคัญในเชิงมานุษยวิทยาและเผยแผ่สาระงานวิจัยแก่นักวิชาการ นักศึกษานักเรียนและผู้สนใจให้เข้าถึงงานวิจัยทางชาติพันธุ์ได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น

  •   ฐานข้อมูลจำแนกกลุ่มชาติพันธุ์ตามชื่อเรียกที่คนในใช้เรียกตนเอง ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้ คือ

    1. ชื่อเรียกที่ “คนอื่น” ใช้มักเป็นชื่อที่มีนัยในทางเหยียดหยาม ทำให้สมาชิกกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ รู้สึกไม่ดี อยากจะใช้ชื่อที่เรียกตนเองมากกว่า ซึ่งคณะทำงานมองว่าน่าจะเป็น “สิทธิพื้นฐาน” ของการเป็นมนุษย์

    2. ชื่อเรียกชาติพันธุ์ของตนเองมีความชัดเจนว่าหมายถึงใคร มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอย่างไร และตั้งถิ่นฐานอยู่แห่งใดมากกว่าชื่อที่คนอื่นเรียก ซึ่งมักจะมีความหมายเลื่อนลอย ไม่แน่ชัดว่าหมายถึงใคร 

     

    ภาพ-เยาวชนปกาเกอะญอ บ้านมอวาคี จ.เชียงใหม่

  •  

    จากการรวบรวมงานวิจัยในฐานข้อมูลและหลักการจำแนกชื่อเรียกชาติพันธุ์ที่คนในใช้เรียกตนเอง พบว่า ประเทศไทยมีกลุ่มชาติพันธุ์มากกว่า 62 กลุ่ม


    ภาพ-สุภาษิตปกาเกอะญอ
  •   การจำแนกกลุ่มชนมีลักษณะพิเศษกว่าการจำแนกสรรพสิ่งอื่นๆ

    เพราะกลุ่มชนต่างๆ มีความรู้สึกนึกคิดและภาษาที่จะแสดงออกมาได้ว่า “คิดหรือรู้สึกว่าตัวเองเป็นใคร” ซึ่งการจำแนกตนเองนี้ อาจแตกต่างไปจากที่คนนอกจำแนกให้ ในการศึกษาเรื่องนี้นักมานุษยวิทยาจึงต้องเพิ่มมุมมองเรื่องจิตสำนึกและชื่อเรียกตัวเองของคนในกลุ่มชาติพันธุ์ 

    ภาพ-สลากย้อม งานบุญของยอง จ.ลำพูน
  •   มโนทัศน์ความหมายกลุ่มชาติพันธุ์มีการเปลี่ยนแปลงในช่วงเวลาต่างๆ กัน

    ในช่วงทศวรรษของ 2490-2510 ในสาขาวิชามานุษยวิทยา “กลุ่มชาติพันธุ์” คือ กลุ่มชนที่มีวัฒนธรรมเฉพาะแตกต่างจากกลุ่มชนอื่นๆ ซึ่งมักจะเป็นการกำหนดในเชิงวัตถุวิสัย โดยนักมานุษยวิทยาซึ่งสนใจในเรื่องมนุษย์และวัฒนธรรม

    แต่ความหมายของ “กลุ่มชาติพันธุ์” ในช่วงหลังทศวรรษ 
    2510 ได้เน้นไปที่จิตสำนึกในการจำแนกชาติพันธุ์บนพื้นฐานของความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยตัวสมาชิกชาติพันธุ์แต่ละกลุ่มเป็นสำคัญ... (อ่านเพิ่มใน เกี่ยวกับโครงการ/คู่มือการใช้)


    ภาพ-หาดราไวย์ จ.ภูเก็ต บ้านของอูรักลาโว้ย
  •   สนุก

    วิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียน
    ปกาเกอะญอ  อ. แม่ลาน้อย
    จ. แม่ฮ่องสอน


    ภาพโดย อาทิตย์    ทองดุศรี

  •   ข้าวไร่

    ผลิตผลจากไร่หมุนเวียน
    ของชาวโผล่ว (กะเหรี่ยงโปว์)   
    ต. ไล่โว่    อ.สังขละบุรี  
    จ. กาญจนบุรี

  •   ด้าย

    แม่บ้านปกาเกอะญอ
    เตรียมด้ายทอผ้า
    หินลาดใน  จ. เชียงราย

    ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ถั่วเน่า

    อาหารและเครื่องปรุงหลัก
    ของคนไต(ไทใหญ่)
    จ.แม่ฮ่องสอน

     ภาพโดย เพ็ญรุ่ง สุริยกานต์
  •   ผู้หญิง

    โผล่ว(กะเหรี่ยงโปว์)
    บ้านไล่โว่ 
    อ.สังขละบุรี
    จ. กาญจนบุรี

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   บุญ

    ประเพณีบุญข้าวใหม่
    ชาวโผล่ว    ต. ไล่โว่
    อ.สังขละบุรี  จ.กาญจนบุรี

    ภาพโดยศรยุทธ  เอี่ยมเอื้อยุทธ

  •   ปอยส่างลอง แม่ฮ่องสอน

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ปอยส่างลอง

    บรรพชาสามเณร
    งานบุญยิ่งใหญ่ของคนไต
    จ.แม่ฮ่องสอน

    ภาพโดย เบญจพล  วรรณถนอม
  •   อลอง

    จากพุทธประวัติ เจ้าชายสิทธัตถะ
    ทรงละทิ้งทรัพย์ศฤงคารเข้าสู่
    ร่มกาสาวพัสตร์เพื่อแสวงหา
    มรรคผลนิพพาน


    ภาพโดย  ดอกรัก  พยัคศรี

  •   สามเณร

    จากส่างลองสู่สามเณร
    บวชเรียนพระธรรมภาคฤดูร้อน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   พระพาราละแข่ง วัดหัวเวียง จ. แม่ฮ่องสอน

    หล่อจำลองจาก “พระมหามุนี” 
    ณ เมืองมัณฑะเลย์ ประเทศพม่า
    ชาวแม่ฮ่องสอนถือว่าเป็นพระพุทธรูป
    คู่บ้านคู่เมืององค์หนึ่ง

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม

  •   เมตตา

    จิตรกรรมพุทธประวัติศิลปะไต
    วัดจองคำ-จองกลาง
    จ. แม่ฮ่องสอน
  •   วัดจองคำ-จองกลาง จ. แม่ฮ่องสอน


    เสมือนสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม
    เมืองไตแม่ฮ่องสอน

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ใส

    ม้งวัยเยาว์ ณ บ้านกิ่วกาญจน์
    ต. ริมโขง อ. เชียงของ
    จ. เชียงราย
  •   ยิ้ม

    แม้ชาวเลจะประสบปัญหาเรื่องที่อยู่อาศัย
    พื้นที่ทำประมง  แต่ด้วยความหวัง....
    ทำให้วันนี้ยังยิ้มได้

    ภาพโดยเบญจพล วรรณถนอม
  •   ผสมผสาน

    อาภรณ์ผสานผสมระหว่างผ้าทอปกาเกอญอกับเสื้อยืดจากสังคมเมือง
    บ้านแม่ลาน้อย จ. แม่ฮ่องสอน
    ภาพโดย อาทิตย์ ทองดุศรี
  •   เกาะหลีเป๊ะ จ. สตูล

    แผนที่ในเกาะหลีเป๊ะ 
    ถิ่นเดิมของชาวเลที่ ณ วันนี้
    ถูกโอบล้อมด้วยรีสอร์ทการท่องเที่ยว
  •   ตะวันรุ่งที่ไล่โว่ จ. กาญจนบุรี

    ไล่โว่ หรือที่แปลเป็นภาษาไทยว่า ผาหินแดง เป็นชุมชนคนโผล่งที่แวดล้อมด้วยขุนเขาและผืนป่า 
    อาณาเขตของตำบลไล่โว่เป็นส่วนหนึ่งของป่าทุ่งใหญ่นเรศวรแถบอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี 

    ภาพโดย ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ
  •   การแข่งขันยิงหน้าไม้ของอาข่า

    การแข่งขันยิงหน้าไม้ในเทศกาลโล้ชิงช้าของอาข่า ในวันที่ 13 กันยายน 2554 ที่บ้านสามแยกอีก้อ อ.แม่ฟ้าหลวง จ.เชียงราย
 
  เครือข่ายชาติพันธุ์
ศูนย์ฯ ได้รวบรวมรายชื่อของหน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ทำงานเกี่ยวข้องกับกลุ่มชาติพันธุ์ มีรายละเอียดของสถานที่ตั้ง
พันธกิจหลักและขอบเขตการทำงานขององค์กรนั้นๆ โดยจัดหมวดหมู่ให้สืบค้นตามตัวอักษรแรกของชื่อหน่วยงานและองค์กร สำหรับท่านที่ต้องการเพิ่มข้อมูลหน่วยงานหรือองค์กรที่ท่านรู้จักหรือรับผิดชอบ ซึ่งยังไม่ปรากฏข้อมูลในฐานข้อมูลนี้

กรุณาแจ้งข้อมูลเพิ่มเติม จักเป็นพระคุณยิ่ง
 
  ชื่อองค์กร(ภาษาไทย) ชื่อองค์กร(ภาษาอังกฤษ)
1 ศูนย์อนามัยกลุ่มชาติพันธุ์ ชายขอบ และแรงงานข้ามชาติ Health Center for Ethnic groups, Marginal people and Migrant workers
2 เครือข่ายชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย (Network of indigenous Peoples in Thailand : NIPT)
3 องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือ ไอแอลโอ International Labour Organization; ILO
4 องค์กรระหว่างประเทศ international organisation
5 องค์กรเยซูอิตสงเคราะห์ผู้ลี้ภัย ภาคพื้นเอเชียแปซิฟิก Jesuit Refugee aid organizations. Asia-Pacific.
6 องค์กรเพื่อผู้ลี้ภัยและผู้อพยพแห่งสหรัฐอเมริกา Organization for refugees and immigrants in the United States.
7 องค์กรพัฒนาทรัพยามนุษย์บนพื้นที่ราบสูง ในเอเชีย Assets of the organization on a plateau in Asia.
8 องค์กรเปอร์กาซา Pertubuhan Pribumi Perkasa Malaysia
9 องค์กรบริการข้อมูลและฝึกอบรมแรงงานข้ามชาติ The organization offers information and training workers.
10 องค์กรด้านแรงงานข้ามชาติ Migrant organizations.
11 องค์กรด้านผู้ลี้ภัย Refugee organizations.
12 องค์กรคณะกรรมการเพื่อมนุษยชนและการศึกษาสำหรับคนรากหญ้า Organization Committee for Human Rights and Education for the grass roots.
13 องค์กร แรงงานเด็กชาติพันธุ์ ในเอเชีย Ethnic organizations, child labor in Asia.
14 หน่วยประสานงานเพื่อต่อต้านการค้ามนุษย์ภาคเหนือตอนบน Coordination unit to combat human trafficking over the top.
15 สำนักงานส่งเสริมและสนับสุนนวิชาการอาข่า Office and technical shirted Akha.
16 สำนักงานบริหารแรงงานต่างด้าว Ministry of Labour.
17 สำนักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ United Nations High Commissioner for Refugees.
18 สำนักกิจการชาติพันธุ์ Office of Ethnic Affairs.
19 สหภาพแรงงานข้ามชาติ กลุ่มแรงงานสามัคคี Unions across the nation. Workers unity.
20 สวท.แม่สะเรียง-แม่ฮ่องสอน National Radio Station. York - Mae Hong Son.
21 สมาคมผู้หญิง กฎหมายและการพัฒนาแห่งเอเชียแปซิฟิกและกลุ่มชาติพันธุ์ Association of Women Law and Development in Asia Pacific and other ethnic groups.
22 ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา Centre for Ethnic Studies and Development.
23 ศูนย์โลกสัมพันธ์ ไทย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Thai World Affairs Center, Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University
24 ศูนย์พัฒนาชีวิตบนพื้นที่ราบสูง Development of life on the plateau.
25 ศูนย์ประสานชาติพันธุ์ อันดามัน Andaman ethnic center.
26 ศูนย์ประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชาวไทยภูเขา NGO Coordination and hill tribes.
27 ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน Coordination Center to local research. Mae Hong Son province.
28 ศูนย์ปฏิบัติการร่วมเพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนบนพื้นที่สูง Joint Operations Center to address the issue on the public Internet.
29 ศูนย์ปฏิบัติการด้านเอชไอวี/เอดส์ เครือข่ายสุขภาพและการพัฒนา Operations of HIV / AIDS. The health and development.
30 ศูนย์กฎหมายภูมิภาคแม่น้ำโขงเพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ 3 ชาติ Mekong Region Law Center, for the three ethnic groups.
31 ศูนย์ การฟื้นฟูการศึกษาและวัฒนธรรมชุมชนกะเหรี่ยง Rehabilitation center for education and culture, Karen.
32 มูลินิธิชาวเขารากหญ้า He said in his philanthropic roots.
33 มูลนิธิอัตลักษณ์แห่งชาติพันธุ์กับการเมือง Foundations of ethnic identity politics.
34 มูลนิธิสังคมชาติพันธุ์ Foundation for Ethnic Society.
35 มูลนิธิสหทัยสังคมศึกษาสงเคราะห์-ประเทศไทย Heart Foundation of Social Welfare - Thailand
36 มูลนิธิสร้างสรรค์เด็กบนพื้นที่ราบสูง Children's Foundation on the plateau.
37 มูลนิธิสงเคราะห์คอมพิวเตอร์เพื่อเด็กไทย Orphanage for Children with a computer on the Internet.
38 มูลนิธิเพื่อสุขภาพและการเรียนรู้ของแรงงานกลุ่มชาติพันธุ์ Foundation, and the knowledge of the labor groups.
39 มูลนิธิเพื่อสนับสนุนงบประมาณด้านแรงงานข้ามชาติ Foundation to support the workers.
40 มูลนิธิเพื่อชนเผ่า Friends of Tribal People Foundation (FTPF)
41 มูลนิธิเพื่อการฟื้นฟูพัฒนาเด็ก และครอบครัว (ฟอร์เด็ก) Foundation For Rehabilitation & Development of Children and Family (FORDEC)
42 มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็กดอย Foundation for Child Development.
43 มูลนิธิบ้านนกขมิ้น Baan Nok Kamin Foundation
44 มูลนิธิชุมชนไท New York Community Foundation.
45 มูลนิธิชาวดอยร่วมรู้ รักสามัคคีเพื่อชีวิต กับ การส่งเสริมให้ชาวดอยปลูกกาแฟ Foundation work on the mountain. To promote the unity of the mountain grown coffee.
46 มูลนิธิพัฒนาชุมชนและเขตภูเขา (พชภ.) The Hill Are and Community Development Foundation
47 มูลนิธิช่วยไร้พรมแดน Foundation for the majority.
48 มูลนิธิชนเผ่าพื้นเมืองเพื่อการศึกษาและสิ่งแวดล้อม Foundation for Indigenous education and the environment.
49 มูลนิธิโครงการหลวงแนวพระราชดำริเพื่อส่งเสริมอาชีพให้ชาวเขา
50 มูลนิธิกระจกเงา The Mirror Foundation.
51 มูลนิธิ โฮพ เวิลด์วายด์ (ประเทศไทย) Foundation of HOPE Worldwide (Thailand).
52 มูลนิธิ ไทย-ลาหู่ Foundation - Thailand Lahu.
53 ฟอร์ไลฟ์ไทแลนด์ New York Life New York City.
54 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านใหม่ในสอย Temporary shelters in the bag house.
55 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่หละ Border Camps Mae home.
56 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่ลามาหลวง Border Camps Mae La Luang.
57 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่ละอูน Border Camps Mae La U's.
58 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านแม่ริน Border Camps Mae Prince.
59 พื้นที่พักพิงชั่วคราวบ้านนุโพ Nu Po refugee camp area home.
60 บอร์เดอร์แคมป์ Camp de Bordeaux.
61 บริการสุขภาพ ของกลุ่มชาติพันธุ์ Health of ethnic groups.
62 ชีวิตอาข่า Akha life.
63 เครือข่ายสุขภาพชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง(คชส.) Highland Ethnic Health Network (Cchs.).
64 เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ The northern labor.
65 เครือข่ายพิทักษ์สิทธิมนุษยชนชาติพันธุ์ Protection of human rights, ethnic networks.
66 เครือข่ายปฏิบัติการเพื่อแรงงานข้ามชาติ Network operations for migrants.
67 เครือข่ายต้นไม้ขี้เหงาอาข่า Lonely tree in the network address.
68 คามิลเลียน โซเชียล เซนเตอร์ เชียงราย Camillian Social Center Chiangrai.
69 คณะกรรมการองค์การพัฒนาเอกชนด้านเอดส์เพื่อชาติพันธุ์ AIDS Committee of NGOs to ethnicity.
70 กลุ่มอาสาพัฒนาเด็กต่างด้าว2 (ต่างกันที่บทบาท) Two groups of children.
71 กลุ่มอาสาพัฒนาเด็กต่างด้าว Groups of children.
72 กลุ่มอนุรักษ์ฯ ชุมนุมหน้าค่าย ตชด. Conservation groups. I gather this Tchd.
73 กลุ่มอนาคตประเทศไทยเพื่อชาติพันธุ์ The ethnic groups in the future.
74 กลุ่มสันติภาพและความยุติธรรมของผู้หญิงระหว่างประเทศ Groups of women, peace and justice between nations.
75 กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชนของชาวเขา The Free Trade Agreement of the People.
76 กลุ่มเพื่อสิ่งแวดล้อมไทยในพื้นที่ราบสูง Environmental groups in the highlands of Thailand.
77 กลุ่มเพื่อนพม่า Group of Friends of Myanmar.
78 กลุ่มพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานต่างด้าวในเมืองพัทยา The development of foreign workers in the city.
79 กลุ่มพลังไทเพื่อสิ่งแวดล้อมกับชาวเขา The energy liberated to the environment.
80 กลุ่มนิทานแต้มฝันเพื่อผู้ด่อยโอกาส The story points to a kind of dream, an opportunity.
81 กลุ่มน้ำใจเพื่อรอยยิ้ม Group I to smile.
82 กลุ่มกรีนพีซ เอเซียตะวันออกเฉียงใต้เพื่อชาวเขา Greenpeace Southeast Asia to the tribe.
83 องค์กรเพื่อการพัฒนาแห่งชาติชาวละหู่ The Lahu National Development Organization
84 มูลนิธิสิทธิมนุษยชนแห่งแผ่นดินมอญ Human Rights Foundation of Monland
85 กลุ่มชนพื้นเมืองแห่งภูมิภาคเอเชีย Asia Indigenous Peoples Pact
86 ศูนย์วิจัยพหุลักษณ์สังคมลุ่มน้ำโขง มหาวิทยาลัยขอนแก่น Center for research on Plurality in the Makong Rgion
87 ศูนย์ข้อมูลท้องถิ่นเพื่อการพัฒนา Local Information Center for Development
88 โครงการพัฒนาชุมชนชาวเขาและพื้นราบ มูลนิธิการศึกษาเพื่อชีวิตและสังคม Development Program to Improve the Quality of Life and Environment, Foundation of Education for Life and Society
89 สมาคมสร้างสรรค์และพัฒนาม้งในประเทศไทย Hmong Association for Development in Thailand
90 สมาคมศูนย์รวมการศึกษาและวัฒนธรรมของชาวไทยภูเขาในประเทศไทย Inter Mountain Peoples Education and Culture in Thailand Association
91 สมัชชาชนเผ่าแห่งประเทศไทย Center for the Coordination of Non-govermental Tribal Development
92 ศูนย์พันธกิจเพื่อชาวม้งในเมือง Mission for Hmong in Urban Area Center
93 ศูนย์ประสานงานและสนับสนุนเครือข่ายพัฒนาชาวเขา Project for the Coordination and Support of the Hilltribe Development Network
94 ศูนย์ประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชาวไทยภูเขา Centre for the Coordination of Non Goverment Tribal
95 มูลนิธิศึกษาวัฒนธรรมและการพัฒนาชาวเขาภาคพื้น South East Asian Mountain Peoples' for Culture a
96 มูลนิธิชาวไทยภูเขา Thai Highlanders Foundation
97 เพื่อนไร้พรมแดน Friends without Borders
98 โครงการสุขภาพเพื่อชาวเขา Health Project for Tribal People
99 โครงการบ้านรวมใจ สมาคมพัฒนาคุณภาพชีวิตบนพื้นที่สูง The Bhan Ruam Jai Project, the Highland Quality of Life Development Association
100 เครือข่ายกะเหรี่ยงเพื่อวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม Karen Network for Culture and Environment
101 องค์กรเผ่าลีซูเพื่อรับมือกับโรคเอดส์ Lisu Organization for oping wih AIDS
102 สมาคมเพื่อการศึกษาและวัฒนธรรมชาวอาข่า เชียงราย Association for Akha Education and Culture in Thailand
103 สถาบันพัฒนาเยาวชนชาติพันธุ์ Tribal Youth Development Center
104 มูลนิธิพัฒนาชุมชนและภูเขา Hill Area Development Foundation
105 โครงการพัฒนาการเกษตรและการศึกษาอาข่า Development Agriculture and Education Project for the Akha
106 โครงการเครือข่ายสตรี และเยาวชนชนเผ่า Project for Hilltribe Woman and Youth Network
107 พิพิธภัณฑ์ชาวเขา Tribal Museum
108 คณะกรรมการคาทอลิกเพื่อกลุ่มชาติพันธุ์ Catholic Commission for Ethnic Groups
 
 

 

ฐานข้อมูลอื่นๆของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  ฐานข้อมูลพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
จารึกในประเทศไทย
จดหมายเหตุทางมานุษยวิทยา
แหล่งโบราณคดีที่สำคัญในประเทศไทย
หนังสือเก่าชาวสยาม
ข่าวมานุษยวิทยา
ICH Learning Resources
ฐานข้อมูลเอกสารโบราณภูมิภาคตะวันตกในประเทศไทย
ฐานข้อมูลประเพณีท้องถิ่นในประเทศไทย
ฐานข้อมูลสังคม - วัฒนธรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  หน้าหลัก
งานวิจัยชาติพันธุ์ในประเทศไทย
บทความชาติพันธุ์
ข่าวชาติพันธุ์
เครือข่ายชาติพันธุ์
เกี่ยวกับเรา
เมนูหลักภายในเว็บไซต์
  ข้อมูลโครงการ
ทีมงาน
ติดต่อเรา
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ช่วยเหลือ
  กฏกติกาและมารยาท
แบบสอบถาม
คำถามที่พบบ่อย


ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เลขที่ 20 ถนนบรมราชชนนี เขตตลิ่งชัน กรุงเทพฯ 10170 
Tel. +66 2 8809429 | Fax. +66 2 8809332 | E-mail. webmaster@sac.or.th 
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2549    |   เงื่อนไขและข้อตกลง